1 - 1 of 18 Articles
อธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กำหนดทิศทางการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันภาคอุตสาหกรรม ตามนโยบาย RESHAPE THE FUTURE : โลกเปลี่ยน อุตสาหกรรมปรับ พร้อมรับอนาคต ผ่านกลยุทธ์การปรับตัวให้ก้าวทันอุตสาหกรรมยุคใหม่
พบกับเทคโนโลยีออโตเมชั่นแบบจัดเต็มจาก Mitsubishi Electric ที่จะทำให้โลกเป็นอัตโนมัติในงาน Manufacturing Expo 2023 วันที่ 21-24 มิถุนายนนี้ ไบเทค บางนา กรุงเทพฯ
คลิปนี้พาสำรวจ 6 ประเทศชั้นนำในอุตสาหกรรมหุ่นยนต์ ได้แก่ จีน, ญี่ปุ่น, สหรัฐอเมริกา, เกาหลีใต้, เยอรมนี, และอียู มีทิศทางลงทุนด้าน R&D อย่างไร ?
IFR เผยแนวทางการลงทุนวิจัยและพัฒนาหุ่นยนต์ของ 6 ประเทศหลักในอุตสาหกรรมหุ่นยนต์ ได้แก่ จีน, ญี่ปุ่น, สหรัฐอเมริกา, เกาหลีใต้, เยอรมนี, และอียู
ในปีที่ผ่านมา จีนมีการผลิตหุ่นยนต์อุตสาหกรรม 366,000 ตัว สร้างรายได้ให้แก่อุตสาหกรรมหุ่นยนต์จีนคิดเป็นมูลค่า 1.8 หมื่นล้านดอลลาร์สหรัฐ ซึ่งโตขึ้นถึง 11 เท่าเมื่อเทียบกับปี 2015
เมื่อปี 2015 จีนตั้งเป้าผลิตหุ่นยนต์อุตสาหกรรม 260,000 ตัวในอีก 10 ปีข้างหน้า แต่ทว่าเพียงไตรมาสสามของปี 2021 จีนสามารถพิชิตเป้าหมายนี้ด้วยยอดผลิตหุ่นยนต์ 268,694 ตัว
ในปี 2020 แม้ทั่วโลกตกอยู่ในภาวะบอบช้ำจากสถานการณ์โควิด แต่กลับเป็นอีกปีที่ประสบความสำเร็จมากที่สุดในประวัติศาสตร์ของอุตสาหกรรมหุ่นยนต์
ก.อุตฯ อัดยาแรงสินเชื่อดอกต่ำ กว่า 2,500 ล้านบาท ยกระดับภาคการผลิตอุตสาหกรรมไทยครั้งใหญ่ ตั้งเป้าไทยเป็นผู้นำการผลิต และใช้หุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติของอาเซียนภายใน 5 ปี
การฟื้นตัวของเศรษฐกิจและภาคธุรกิจหลังโควิดส่งผลอย่างไรต่อความต้องการหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ สำรวจตัวเลขตลาด โอกาสและความท้าทายจากมุมมองของผู้ผลิตหุ่นยนต์ชั้นนำ
ก.อุตฯ ดันอุตสาหกรรมหุ่นยนต์ไทย ตั้งเป้าเป็นผู้นำในอาเซียน ด้าน สศอ. เผยความคืบหน้าเทคโนโลยีหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติเสริมภาคการผลิต
การศึกษาเทรนด์อุตสาหกรรมหุ่นยนต์ของเกาหลีใต้จึงเป็นประโยชน์อย่างมาก เพราะเกาหลีใต้ ประเทศอันดับ 2 ของโลกที่มีอัตราส่วนหุ่นยนต์อุตสาหกรรมมากที่สุด และเป็นหนึ่งในผู้ผลิตหุ่นยนต์ท็อป 5 ดังนี้
รายงาน World Robotics R&D Programs โดย IFR เผยแนวทางสำคัญในการลงทุนวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมหุ่นยนต์ของ 6 ประเทศที่มีความก้าวหน้าด้านหุ่นยนต์
อุตสาหกรรมหุ่นยนต์ไทย ม.ค 64 ยังอยู่ในภาวะขาดดุลการค้าต่อเนื่องราว 124 ล้านบาท ปัจจัยหลักจากหุ่นยนต์อุตสาหกรรมที่มีมูลค่าการนำเข้าสูง
อุตสาหกรรมหุ่นยนต์ไทย ธ.ค. 63 ยังอยู่ในภาวะขาดดุลการค้าต่อเนื่องราว 150 ล้านบาท ปัจจัยหลักจากหุ่นยนต์อุตสาหกรรมที่มีมูลค่าการนำเข้าสูง
อุตสาหกรรมหุ่นยนต์ไทย พ.ย. 63 ยังอยู่ในภาวะขาดดุลการค้าราว 135 ล้านบาท มีปัจจัยหลักจากหุ่นยนต์อุตสาหกรรมที่มีมูลค่าการนำเข้าสูง
อุตสาหกรรมหุ่นยนต์ไทย ต.ค. 63 ยังอยู่ในภาวะขาดดุลการค้าราว 83 ล้านบาท มีปัจจัยหลักจากหุ่นยนต์อุตสาหกรรมซึ่งมีมูลค่าการนำเข้าสูง
การประชุมระดมสมอง เพื่อจัดทำ Technology Roadmap โดยความร่วมมือของภาครัฐ และเอกชน ภายใต้โครงการศึกษาแนวทางการยกระดับผลิตภาพและสร้างคุณค่าของภาคเศรษฐกิจไทย
25 ปี FIBO ดร.ชิต เหล่าวัฒนา เผยมุมมองสถานการณ์อุตสาหกรรมหุ่นยนต์ไทย แนวโน้มในอนาคต 5 ปีข้างหน้า และภารกิจถัดไปของ FIBO